Friday, December 11, 2009

บทซิกิรทั่วไป


บทซิกิรทั่วไป
﴿الأذﻛﺎر اﻟﻤطلقة﴾
[ ไทย – Thai – [ تايلاندي
มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัตตุวัยญิรีย์
แปลโดย : ซุฟอัม อุษมาน
ผู้ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี
ที่มา : หนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์
2009 - 1430
﴿الأذﻛﺎر اﻟﻤطلقة﴾
« باللغة اﻛﺤايلاندية »
الشيخ ﻣﺤمد بن إبراهيم اﻛﺤوﻳﺠري
ترﺟﻤة: صاﻓﻲ عثمان
مراجعة: فيصل عبداﻟﻬادي
اﻟﻤصدر: كتاب ﻣﺨتﺼﺮ الفقه الإسلاﻣﻲ
2009 - 1430
1
ด้วยพระนามของอัลลอฮฺ ผู้ทรงเมตตา ปรานียิ่งเสมอ
บทซิกิรทั่วไป
ในบรรพนี้ข้าพเจ้าได้กล่าวถึงความประเสริฐของการตัสบีหฺ(การกล่าว สุบหานัลลอฮฺ
หมายถึง มหาบริสุทธิ์ยิ่งพระองค์อัลลอฮฺ) ตะฮฺลีล(การกล่าว ลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ หมายถึง
ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺ) ตะห์มีด(การกล่าว อัลหัมดุลิลลาฮฺ หมายถึง มวลการ
สรรเสริญแด่พระองค์อัลลอฮฺ) ตักบีร(การกล่าว อัลลอฮุอักบัร หมายถึง อัลลอฮฺผู้ทรงยิ่งใหญ่)
อิสติฆฟาร(การกล่าว อัสตัฆฟิรุลลอฮฺ หมายถึง ข้าขออภัยโทษยังพระองค์อัลลอฮฺ) และบทซิกิ
รเยี่ยงเดียวกันที่มีบัญญัติให้กล่าวได้ทุกเวลา
จากอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮฺอันฮุ เล่าว่าท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิ
วะสัลลัม ได้กล่าวว่า
ﻛﻠمتان خفيفتان ﻟَﺒَ »
اللسان ثَقيلتان ﻓﻲ المﻴﺰان حبيبَتان إﻟَﻰ الرَّﺣْﻤَن
ََََِِِِِ
ْ
ِ
:ََِِِّ
.« سُبْحَانَ اللهِ وَﺑِﺤَمْدِهِ، سُبْحَانَ اللهِ الْعَظِيمِ
ความว่า "สองคำที่เบาแก่ลิ้น(ที่จะกล่าว) หนักบนตาชั่ง(ในวันกิยา
มะฮฺ) เป็นที่รักแก่อัร-เราะห์มาน(อัลลอฮฺผู้ทรงเมตตา) นั่นคือ สุบ
หานัลลอฮฺ วะบิหัมดิฮฺ และ สุบหานัลลอฮิลอะซีม"
(บันทึกโดยอัล-บุคอรีย์ หมายเลข 6682 สำนวนรายงานนี้เป็นของ
ท่าน และมุสลิม หมายเลข 2694)
จากสะมุเราะฮฺ อิบนุ ญุนดุบ เราะฎิยัลลอฮฺอันฮุ เล่าว่าท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอ
ฮฺอะลัยฮิ วะสัลลัม ได้กล่าวว่า
أَحَ »
بُّ الﻜَﻠﺎمِ إﻟَﻰ اللهِ أَرْبَعٌ
: سُبْحَانَ اللهِ، وَاﻟﺤَمْدُ للهِ، وَلا إلٰهَ إلَّا
اللهُ، وَاللهُ أكﺒﺮ، لا يَﻀﺮك بكفهِنَّ بَدَأْتَ
َِّ
َََُُِّْ

ความว่า "ถ้อยคำที่เป็นที่รักที่สุดแก่อัลลอฮฺนั้นมีสี่อย่าง คือ สุบ
หานัลลอฮฺ, อัลหัมดุลิลลาฮฺ, ลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ และ อัลลอฮุ
อักบัร ไม่เป็นปัญหาแก่ท่านว่าจะเริ่มกล่าวด้วยคำใดก่อนก็ได้"
(บันทึกโดยมุสลิม หมายเลข 2137)
จากอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮฺอันฮุ เล่าว่าท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิ
วะสัลลัม ได้กล่าวว่า
لأَنْ أَقُولَ »
: سُبْحَانَ اللهِ، وَاﻟﺤَمْدُ للهِ، وَلا إلٰهَ إلَّا اللهُ، وَاللهُ أَكْﺒَﺮُ،
أَحَبُّ إﻟَﻲَّ مِمَّا طَلَعَتْ عَلَيهِ الشَّمْسُ

2
ความว่า "การที่ฉันกล่าว สุบหานัลลอฮฺ วัลหัมดุลิลลาฮฺ วะลาอิลาฮะ
อิลลัลลอฮฺ วัลลลอฮุอักบัร นั้นย่อมเป็นที่รักแก่ฉันมากกว่าสิ่งที่ดวง
อาทิตย์ได้ขึ้นมาเหนือมัน(หมายถึงโลกดุนยา)"
(บันทึกโดยมุสลิม หมายเลข 2695)
จากอบู มาลิก อัล-อัชอะรีย์ เราะฎิยัลลอฮฺอันฮุ เล่าว่าท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอ
ฮฺอะลัยฮิ วะสัลลัม ได้กล่าวว่า
الطُّهُورُ شَطْرُ الإيْمَانِ، وَاﻟﺤَمْدُ لله تمْلأ المِﻴﺰَانَ، وَسُبْحَانَ الله »
وَاﻟﺤَمْدُ لله تملآن أو تملأ مَا بﻴﻦ السَّماوَات وَالأَرْضِ، وَالصَّلاةُ نُورٌ،
ََََُِِْْْ
وَالصَّدَقَةُ بُرْهَانٌ، وَالصَّﺒْﺮُ ضِيَاءٌ، وَالقُرآنُ حُجَّةٌ لَكَ أَوْ عَلَيكَ، ﻛُﻞُّ
اجاس يغدو، فبايع غفسه، فمعتقُهَا أو موبقُهَ
ََُِْْ
.« اٌَََََُُُِِِّْْْ
ความว่า "ความสะอาดนั่นคือส่วนหนึ่งของความศรัทธา(นักอธิบาย
บางท่านให้ความหมายว่า การอาบน้ำละหมาดนั้นเป็นส่วนหนึ่งของ
ละหมาด) ถ้อยคำ อัลหัมดุลิลลาฮฺ นั้น(ผลบุญของมัน)เติมเต็มตาชั่ง
(ในวันกิยามะฮฺ) และ สุบหานัลลอฮฺ วัล หัมดุลิลลาฮฺ นั้น(ผลบุญของ
มัน)เต็มระหว่างชั้นฟ้าและแผ่นดิน การละหมาดนั้นเป็นนูรฺ(แสงรัศมี
ที่แพรวพราวหรือแสงนวล) การเศาะดะเกาะฮฺ(การจ่ายซะกาต)นั้น
เป็นหลักฐาน(ถึงการศรัทธาที่แท้จริง) ความอดทนนั้นเป็นแสงสว่าง
เจิดจ้า อัลกุรอานนั้นเป็นหลักฐานให้กับท่าน(หากปฏิบัติตามมัน)
หรือเป็นพยานเหนือตัวท่าน(หากไม่ปฏิบัติตามมัน) มนุษย์ทุกคนตื่น
เช้าเพื่อแลกตัวเอง บางคนได้ปลดปล่อยตัวเองจากการลงโทษ(ด้วย
การภักดีต่ออัลลอฮฺและทำความดี) และบางคนได้ทำลายตัวเอง
(ด้วยการภักดีต่อชัยฎอนและทำความชั่ว)"
(บันทึกโดยมุสลิม หมายเลข 223)
จากอบู ซัร เราะฎิยัลลอฮฺอันฮุ เล่าว่าท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม
ถูกถามว่า "ถ้อยคำใดที่ประเสริฐที่สุด?" ถามตอบว่า
ما اصطﻔﻰ الله لِمَلائكته أَوْ لِعِبَادِهِ »
:َََِِْ سبْحَان الله وبحَمْدِهِ
.«َُِ
ความว่า "คือสิ่งที่อัลลอฮฺได้เลือกสรรให้ปวงมลาอิกะฮฺหรือปวงบ่าว
ของพระองค์ นั่นคือ สุบหานัลลอฮฺ วะ บิหัมดิฮฺ"
(บันทึกโดยมุสลิม หมายเลข 2731)
จาสะอัด อิบนุ อบี วักกอศ เราะฎิยัลลอฮฺอันฮุ เล่าว่า ครั้งหนึ่งเราได้อยู่พร้อมกับท่าน
เราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม แล้วท่านก็ได้กล่าวว่า
3
أَيَعْجِزُ أَحَدُكُمْ أَنْ يَكْسِبَ ﻛُﻞَّ يَوم أَلْفَ حَسَنَةٍ؟ »
فَسَأَلَهُ «ٍ
سَائِلٌ مِنْ جُلَسَائِهِ: كَيْفَ يَكْسِبُ أَحَدُنَا أَلْفَ حَسَنَةٍ؟ قَالَ:
يسَبِّح مائة تسْبيحَةٍ، فَيُكْتَبُ لَهُ أَلْفُ حَسَنَةٍ، أوْ يُحَطُّ قَنْهُ »
ِ
َُُِ
أَلْفُ خَطِيئَةٍ
تكتب له أ » : لفظ 􀈙 أخرجه مسلم، و .«
لَََُُُْْفُ
.« حَسَنَةٍ، وَتُحَطُّ قَنْهُ أَلْفُ سَيِّئَةٍ
ความว่า "พวกท่านแต่ละคนอ่อนแอหรือที่จะเก็บเกี่ยวหนึ่งพันความ
ดีในแต่ละวัน?" คนที่นั่งอยู่ด้วยคนหนึ่งได้ถามท่านว่า พวกเราแต่ละ
คนจะเก็บเกี่ยวหนึ่งพันความดีในแต่ละวันได้อย่างไร? ท่านตอบว่า
"ให้เขากล่าวตัสบีห์ สุบหานัลลอฮฺ หนึ่งร้อยครั้ง เขาก็จะถูกบันทึก
หนึ่งพันความดีให้ หรือจะถูกลบหนึ่งพันความผิดจากเขา" (บันทึก
โดยมุสลิม หมายเลข 2698) ในรายงานหนึ่งมีว่า "จะถูกบันทึกหนึ่ง
พันความดีให้กับเขา และจะถูกลบหนึ่งพันความผิดจากเขา"
(บันทึกโดยอะหฺมัด หมายเลข 1496 และอัต-ติรมิซีย์ หมายเลข
3463 สำนวนรายงานนี้เป็นของท่าน)
จากญาบิร เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ จากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ท่านกล่าว
ว่า
من قال سبحان الله العظيم وبحمدهِ غرست له ﻧﺨلة ﻓِﻲ اﻟﺠَنَّةِ »
ٌَََََََُِِْْْْ
.«َََُُِِْ
ความว่า "ผู้ใดที่กล่าวว่า สุบหานัลลอฮิลอะซีม วะบิหัมดิฮฺ จะถูกปลูก
ต้นอินทผลัมหนึ่งต้นเตรียมไว้แก่เขาในสวรรค์"
(บันทึกโดยอัต-ติรมิซีย์ หมายเลข 3465 ดู อัส-สิลสิละฮฺ อัศ-เศาะฮี
หะฮฺ หมายเลข 64)
จากญุวัยริยะฮฺ เราะฎิยัลลอฮฺอันฮา เล่าว่าท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ละ
ออกไปจากบ้านนางในยามเช้าตรู่ในขณะที่นางนั่งในที่ละหมาดของนาง แล้วท่านก็กลับมาใน
ยามสายในขณะที่นางยังนั่งอยู่ที่เดิม ท่านกล่าวว่า "เธอยังนั่งเช่นในสภาพเดิมตอนที่ฉัน
ออกไปกระนั้นหรือ?" นางตอบว่า "ใช่" ท่านจึงกล่าวว่า
لقد قلت بَعدك أَرْبَعَ ﻛَﻠِمَاتٍ ثَلاثَ مَ »
رََُُِْْْات لو وزنت بما قلتِ مُنْذُ
ََُِْْ
َُِْ
ٍَّ
ومِ لَوَزَغَتْهُنَّ: سبْحان الله وبحمْدِه، عدَد خلقِهِ، ورضَا غَفْسِهِ، 􀇾 ا َ
ََََِِْ
ِ
َُ
وَزنَةَ عَرْشِهِ، وَمِدَادَ ﻛَﻠِمَاتِهِ
.«ِ
ความว่า "แท้จริง หลังจากที่ออกไป ฉันได้กล่าวถ้อยคำสี่คำสามครั้ง
ซึ่งถ้านำไปชั่งเทียบกับสิ่งที่เธอกล่าวทั้งหมดตั้งแต่เริ่มวันนี้ แน่นอน
สี่คำนั้นย่อมหนักกว่า นั่นคือ สุบหานัลลอฮฺ วะบิหัมดิฮฺ, อะดะดา
4
ค็อลกิฮฺ, วะ ริฎอ นัฟซิฮฺ, วะ ซินะตะ อัรชิฮฺ, วะ มิดาดะ กะลิมาติฮฺ
(ความหมาย มหาบริสุทธิ์ยิ่งอัลลอฮฺ และด้วยการสรรเสริญแด่
พระองค์ มากเท่าสิ่งถูกสร้างของพระองค์ และเท่าที่ตัวพระองค์
โปรดปราน และเท่ากับน้ำหนักของอัรชฺแห่งพระองค์ และเท่ากับน้ำ
หมึกแห่งถ้อยคำของพระองค์)" (บันทึกโดยมุสลิม หมายเลข 2726)
จากอบู อัยยูบ อัล-อันศอรีย์ เราะฎิยัลลอฮฺอันฮุ จากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิ
วะสัลลัม ได้กล่าวว่า
من قال لا إلَه إلا الله وَحده لا ﺷﺮيكَ لَهُ، لَهُ المُلْكُ وَلَهُ »
ِ
َََََُّْْ
ء قدير، عَﺸْﺮ مرار ﻛﺎَنَ كَمَنْ أَقْتَقَ أَرْبَعَةَ 􀅽 اﻟﺤَمْدُ وَهُوَ ﻟَﺒٰ ﻛﻞ
ٌٍٍََََُِِِّْ
أَغْفُ
إسْمَاقِيلَ 􀈅 س مِن و ِ
.«ٍَْ
ความว่า "ผู้ใดที่กล่าวว่า ลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ วะห์ดะฮุ ลาชะรีกะ
ละฮฺ, ละฮุลมุลกุ วะละฮุลหัมด์, วะฮุวะ อะลา กุลลิชัยอิน กอดีร
(ความว่า ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺ สำหรับพระองค์คือ
อำนาจการครอบครองและมวลการสรรเสริญ และพระองค์ทรงมีเด
ชานุภาพเหนือทุกสิ่ง) จำนวนสิบครั้ง เขาจะได้รับผลบุญประหนึ่งไถ่
ทาสสี่คนจากลูกหลานของอิสมาอีล"
(บันทึกโดยมุสลิม หมายเลข 2693)
จากสะอัด บิน อบี วักกอศ เราะฎิยัลลอฮฺอันฮุ เล่าว่า มีชายเบดูอินคนหนึ่งมาหา
ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม และได้กล่าวแก่ท่านว่า "จงสอนถ้อยคำแก่ฉันสัก
ประการที่ฉันจะได้ใช้กล่าว" ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้ตอบว่า
قُلْ : لَا إلٰهَ إلَّا الله وَحْدَهُ لَا ﺷﺮيكَ لَهُ، اللهُ »
ِ
أكﺒﺮ كَبﻴﺮاً،
ََُِْ
وَاﻟﺤَمْدُ للهِ كَثﻴﺮاً، سُبْحَانَ اللهِ
رب العالمِﻴﻦَ، لا
حَولَ وَلا قُوَّةَ
إلا بِاللهِ
العزِيزِ اﻟﺤَكِيمِ
قُلْ: » : فَمَا ﻟِﻲ؟ قَالَ 􀈒 قَالَ: فَهٰؤلَاءِ لِرَ ِّ ،«َ
وارزقﻨِﻲ